สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญองค์การบริหารส่วนตำบลท่าสองคอน

ที่ตั้งและอาณาเขต

                    ตำบลท่าสองคอน เป็นตำบลหนึ่งของอำเภอเมืองมหาสารคาม  จากทั้งหมด 13 ตำบล และจัดได้ว่าเป็นตำบลเก่าแก่ที่ได้จัดตั้งมานานแล้ว  ราษฎรได้อพยพมาจากอำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์  ประชาชนส่วนใหญ่พูดภาษาไทยอีสาน  นับถือศาสนาพุทธ  ซึ่งมีอาณาเขตติดต่อ  ดังนี้

                ทิศเหนือ          ติดกับลำน้ำชี              อำเภอกันทรวิชัย     จังหวัดมหาสารคาม

                ทิศใต้              ติดกับตำบลแก่งเลิงจาน   อำเภอเมือง         จังหวัดมหาสารคาม

                                      และตำบลบ่อใหญ่         อำเภอบรบือ        จังหวัดมหาสารคาม

                ทิศตะวันออก     ติดกับตำบลเกิ้ง            อำเภอเมือง          จังหวัดมหาสารคาม

                                      และติดกับตำบลตลาด     อำเภอเมือง         จังหวัดมหาสารคาม

                ทิศตะวันตก       ติดกับตำบลแก้งแก        อำเภอโกสุมพิสัย   จังหวัดมหาสารคาม

                   ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลท่าสองคอน   ตั้งอยู่เลขที่ 264 หมู่ที่ 4  บ้านโนนแต้   ตำบลท่าสองคอน  อำเภอเมืองมหาสารคาม  จังหวัดมหาสารคาม   ซึ่งอยู่ห่างจากที่ทำการอำเภอเมืองมหาสารคาม   ประมาณ  9  กิโลเมตร

พื้นที่

องค์การบริหารส่วนตำบลท่าสองคอน มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 117.45 ตารางกิโลเมตร (73,405.625 ไร่) เป็นพื้นที่อยู่ในเขต ส.ป.ก. จำนวน 19,193  ไร่  (ศูนย์สารสนเทศ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร ปี 2551) สำหรับกรมพัฒนาชุมชน ได้จำแนกพื้นที่ถือครองตามสิทธิ์ของทางราชการเป็นรายหมู่บ้านทั้งหมด  จำนวน  39,979 ไร่ และจำแนกเป็นพื้นที่การเกษตรเป็นรายหมู่บ้านทั้งหมด  รวม 35,233  ไร่ 

(1) พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าสองคอน (หน่วย/ไร่)

 ลำดับที่

ชื่อหมู่บ้าน

พื้นที่ทั้งหมด

(ไร่)

พื้นที่การเกษตร

(ไร่)

หมายเหตุ

1

บ้านท่าสองคอน

1,515

1,475

 

2

บ้านหนองกุงเต่า

2,300

2,060

 

3

บ้านอุปราช

2,090

1,879

 

4

บ้านโนนแต้

2,343

1,925

 

5

บ้านหนองงัวน้อย

1,690

1,533

 

6

บ้านบ่อน้อย

3,410

3,160

 

7

บ้านหนองเขื่อนช้าง

2,850

2,350

 

8

บ้านหินลาด

2,540

2,410

 

9

บ้านดอนหัน

2,200

2,103

 

10

บ้านดงเค็ง

1,506

1,400

 

11

บ้านสว่าง

650

450

 

12

บ้านท่าสองคอน

1,264

1,060

 

13

บ้านหนองเขื่อนช้าง

1,527

1,320

 

14

บ้านอุปราช

850

700

 

15

บ้านโนนสะอาด

945

600

 

16

บ้านโนนแต้

1,250

1,020

 

17

บ้านท่าสองคอน

1,570

1,410

 

18

บ้านท่าสองคอน

1,107

963

 

19

บ้านโนนตาล

600

480

 

20

บ้านหนองเขื่อนช้างใต้

1,774

1,600

 

21

บ้านดอนหันพัฒนา

1,652

1,550

 

22

บ้านหนองกุงเต่า

2,119

1,840

 

23

บ้านหินลาดพัฒนา

2,238

1,945

 

รวม

39,990

35,233

 

  * ที่มาข้อมูล ศูนย์สารสนเทศ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร ปี 2558

(2) ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศของตำบลท่าสองคอน  เป็นตำบลที่มีจำนวนพื้นที่มากตำบลหนึ่งของอำเภอเมืองมหาสารคาม  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มมีลำน้ำชีซึ่งเป็นแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านทำให้พื้นที่เหมาะแก่การเพาะปลูก  พื้นที่โดยทั่วไปมีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางประมาณ 130–230  เมตร  มีลำน้ำสำคัญหลายสายไหลผ่าน  ได้แก่  แม่น้ำชี  ห้วยถ้ำเต่า  ห้วยหมาตาย  และห้วยปอปิด  แบ่งเป็น 3 ลักษณะ  คือ

1)  ที่ราบลุ่มอยู่บริเวณด้านทิศตะวันออกของตำบล ซึ่งเป็นบริเวณหมู่ที่ 1,4,12,16,17 และ 18  เหมาะสำหรับการประกอบการเกษตรกรรม เช่น การทำนา และปลูกพืชสวน

2) ที่ราบลุ่มกึ่งดอน อยู่บริเวณตอนกลาง และทิศใต้ของตำบล ซึ่งเป็นบริเวณหมู่ที่ 3,7,13,14,15,19,20  เหมาะสำหรับการประกอบการเกษตรกรรม เช่น การทำนา ปลูกพืชสวนและพืชไร่

3) ที่ดอนอยู่บริเวณด้านทิศตะวันตกและทิศใต้ของตำบล ซึ่งเป็นบริเวณหมู่ที่ 2,5,6,8,9,10,11,21,22 และ 23 เหมาะสำหรับการประกอบการเกษตรกรรม เช่น ปลูกพืชสวน และพืชไร่     

 (3) เขตการปกครองและจำนวนประชากร

          องค์การบริหารส่วนตำบลท่าสองคอน  มีจำนวนหมู่บ้านซึ่งอยู่ในเขตการปกครอง จำนวน 23 หมู่บ้าน  ดังนี้.

 

หมู่ที่

่อ

หมู่บ้าน

จำนวนประชากร (คน)

จำนวน

ครัวเรือน

ชื่อผู้นำ

(กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน)

ชาย

หญิง

รวม

1

บ้านท่าสองคอน

593

650

1,253

634

นางบุญเพ็ง  ใจดี

2

บ้านหนองกุงเต่า

283 

 300

 583

 134

นายอนงค์   น้อยนอนเมือง

3

บ้านอุปราช

329

344

673

198

นางสุกัญญา   สมบัติตรา

4

บ้านโนนแต้

317

352

667

239

นายเดชา   นนทวงศ์

5

บ้านหนองงัวน้อย

138

129

267

82

นายนิพนธ์ ทินภู่

6

บ้านบ่อน้อย

425

465

890

251

นายหนูกาย    ขาลถม

7

บ้านหนองเขื่อนช้าง

353

435

788

228

นายจิตร   วงศ์ละคร

8

บ้านหินลาด

264

281

545

140

นายพัสกร  ทินสา

9

บ้านดอนหัน

306

301

607

166

นายณัฐพงษ์  บุญภักดี

10

บ้านดงเค็ง

211

221

432

135

นางหนูเทียร ปัตธุลี

11

บ้านสว่าง

134

172

306

78

นายวีระชัย   ทินน้อย

12

บ้านท่าสองคอน

375

419

794

212

นายบรรจง   ซ้ายขวา

13

บ้านหนองเขื่อนช้าง

192

237

429

112

นายอารีย์  จำปาปี

14

บ้านอุปราช

80

96

176

58

นายถาวร   ขันขวา

15

บ้านโนนสะอาด

119

121

240

103

นายปัทมา กองพลพรม

16

บ้านโนนแต้

312

341

653

189

นายชัยณรงค์  สีสาร

17

บ้านท่าสองคอน

235

266

501

147

นายวีระพล   ทินคำ

18

บ้านท่าสองคอน

325

346

671

174

นายชัยวุฒิ   นามจำปี

19

บ้านโนนตาล

117

107

224

72

นางสาวสุกัญญา  เสนา

20

บ้านหนองเขื่อนช้างใต้

288

314

602

178

นายอุทิศ   สืบกงแสง

21

บ้านดอนหันพัฒนา

238

233

471

123

นายคำพุทธ  อินละคร

22

บ้านหนองกุงเต่า

322

305

627

142

นายสุภาพ   จุมพันธ์ (กำนัน)

23

บ้านหินลาดพัฒนา

266

207

536

132

นายรังสรรค์ มาตะพัตร์

รวม

6,650

6,967

13,617

4,038

 

 

 (4) จำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ

ช่วงอายุประชากร

จำนวนเพศชาย (คน)

จำนวนเพศหญิง (คน)

จำนวนรวม(คน)

น้อยกว่า 1 ปีเต็ม

10

8

18

1 ปี 2 ปี

62

54

116

3 ปีเต็ม 5 ปี

136

159

295

6 ปีเต็ม 11 ปี

345

331

676

12 ปีเต็ม 14 ปี

191

193

384

15 ปีเต็ม 17 ปี

173

141

314

18 ปีเต็ม  - 49 ปี

2,621

2,638

5,259

50 ปีเต็ม 60 ปีเต็ม

866

1,016

1,882

มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป 

 925

 1,204

 2,129

รวม

5,329

5,744

11,073

 

 

 

 

 

* ที่มา ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน  ระดับตำบล ปี 2561

 (5) กลุ่มอาชีพ 

 

อาชีพ

จำนวนเพศชาย

(คน)

จำนวนเพศหญิง

(คน)

จำนวนรวม

(คน)

ไม่มีอาชีพ

61

77

138

กำลังศึกษา

955

1045

2,000

เกษตรกรรม-ทำนา

1,672

2,265

3,937

เกษตรกรรม-ทำไร่

24

34

58

เกษตรกรรม-ทำสวน

-

-

-

เกษตรกรรม-ประมง

-

-

-

เกษตรกรรม-ปศุสัตว์

2

1

3

รับราชการ

223

215

438

พนักงานรัฐวิสาหกิจ

24

16

40

พนักงานบริษัท

217

238

455

รับจ้างทั่วไป

2,034

1,784

3,818

ค้าขาย

96

154

250

ธุรกิจส่วนตัว

85

66

151

อื่นๆ หรือไม่ระบุ

6

18

24

รวมทั้งหมด

5,399

5,913

11,312

 (6) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนและกลุ่มอาชีพ

 

ลำดับ

ชื่อกลุ่มอาชีพ

หมู่ที่/ชื่อบ้าน

หมายเหตุ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

กลุ่มทอเสื่อกก

กลุ่มเกษตรออมทรัพย์ก้าวหน้า

กลุ่มปลูกผักปลอดภัยสารพิษ

กลุ่มเลี้ยงโคกระบือ

กลุ่มทอสื่อกก

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ

กลุ่มทอผ้าไหม

กลุ่มเลี้ยงโค กระบือ

กลุ่มเกษตรหมุนเวียน

กลุ่มเกษตร โค/กระบือ

กลุ่มทอสื่อกก

กลุ่มผู้เลี้ยงกระบือ

กลุ่มเกษตรโคกระบือ

กลุ่มโคกระบือ

หมู่ที่ 2 บ้านหนองกุงเต่า

หมู่ที่ 12 บ้านท่าสองคอน

หมู่ที่ 8 บ้านหินลาด

หมู่ที่ 14 บ้านโนนตาล

หมู่ที่19 บ้านโนนตาล

หมู่ที่ 17 บ้านท่าสองคอน

หมู่ที่ 17 บ้านท่าสองคอน

หมู่ที่ 3 บ้านอุปราช

หมู่ที่ 6 บ้านบ่อน้อย

หมู่ที่ 15 บ้านโนนสะอาด

หมู่ที่ 5 บ้านหนองงัวน้อย

หมู่ที่ 9 บ้านดอนหัน

หมู่ที่ 18 บ้านท่าสองคอน

หมู่ที่ 11 บ้านสว่าง

หมู่ที่ 21 บ้านดอนหัน

หมู่ที่ 10 บ้านดงเค็ง

 

 

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

กลุ่มเลี้ยงหมู

กลุ่มเย็บผ้า

กลุ่มเลี้ยงไก่พื้นบ้าน

กลุ่มเลี้ยงสุกร

กลุ่มทอผ้า

กลุ่มทอผ้า

กลุ่มเกษตรพอเพียง

กลุ่มเลี้ยงโคกระบือ

กลุ่มเลี้ยงไก่

กลุ่มเกษตรผู้ปลูกอ้อย มันสำปะหลัง

กลุ่มผู้เลี้ยงโคนื้อ

กลุ่มเลี้ยงโคขุน

หมู่ที่ 10 บ้านดงเค็ง

หมู่ที่ 10 บ้านดงเค็ง

หมู่ที่ 10 บ้านดงเค็ง

หมู่ที่ 16 บ้านโนนแต้

หมู่ที่ 20 บ้านหนองเขื่อนช้าง

หมู่ที่ 4 บ้านโนนแต้

หมู่ที่ 4 บ้านโนนแต้

หมู่ที่ 4 บ้านโนนแต้

หมู่ที่ 4 บ้านโนนแต้

หมู่ที่ 22 บ้านหนองกุงเต่า

หมู่ที่ 23 บ้านหินลาด

หมู่ที่ 13 บ้านหนองเขื่อนช้าง

 

  การศึกษา

 

ลำดับ

ชื่อโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

สังกัด

เปิดการเรียนการระดับ

หมายเหตุ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าสองคอน

โรงเรียนบ้านท่าสองคอน

โรงเรียนบ้านอุปราช

โรงเรียนบ้านบ่อน้อยหนองงัวสว่างวิทย์

โรงเรียนบ้านหนองกุงเต่า

โรงเรียนบ้านหินลาด

โรงเรียนบ้านหนองเขื่อนช้าง

โรงเรียนบ้านดงเค็ง-ดอนหัน

โรงเรียนมหาชัยพิทยาคาร

โรงเรียนพัฒนาศึกษา

อปท.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

เอกชน

ปฐมวัย 3-5 ขวบ

อนุบาล- ม.3

อนุบาล ป.6

อนุบาล ป.6

อนุบาล ป.6

อนุบาล ม.6

อนุบาล ป.6

อนุบาล ป.6

ม.1 ม.3

อนุบาล ป.6

 

 

 

การบริการขั้นพื้นฐาน

การคมนาคม

                   องค์การบริหารส่วนตำบลท่าสองคอน อยู่ห่างจากตัวอำเภอเมืองมหาสารคาม ประมาณ 9 กิโลเมตร  โดยมีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 208  (สายมหาสารคาม-โกสุมพิสัย)  ซึ่งเป็นถนนลาดยางและเป็นเส้นทางการคมนาคมสายหลัก  ภายในตำบลมีถนนสายหลวงชนบท  หมายเลข มค 1207 ,มค1107 ,มค 12032 และถนนคอนกรีต ถนนลูกรังภายในตำบลเป็นเส้นทางสายหลักในการติดต่อ 

ถนน

สภาพถนน

ถนนลาดยาง

1. ทางหลวงแผ่นดิน  หมายเลข 208  (สาย จ. มหาสารคาม -   จ. ขอนแก่น) ผ่านหมู่ที่ 17 , 12,  3,  14 , 19 , 15,  11  6  , , 2 และ  5  ยาว  12  กม.   กว้าง  8 เมตร

 

เป็นถนนสายหลักของตำบล  ซึ่งเชื่อมระหว่างจังหวัดมหาสารคามไปจังหวัดขอนแก่น  สภาพถนนใช้การได้ดี

การเดินทางสะดวก  ส่วนใหญ่ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

2. ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 2018 (สาย บ. หนองกุงเต่า บ. ดงเค็ง) ผ่านหมู่ที่ 2,  22 , 8 , 20 , 9,  21 และ 10   ความยาว  14 กม.  กว้าง  8  เมตร   อยู่ในเขต  ส.ป.ก.

 

ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนเป็นหลุมเป็นบ่อเป็นบางช่วง  การคมนาคมสะดวก  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

 

 

ถนน

สภาพถนน

3. ทางเข้าหมู่บ้านเชื่อมทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 2018 (สาย บ. โนนสะอาดบ. หินลาด) ผ่านหมู่ที่ 23 และ 8   ความยาว  3 กม.  กว้าง  8  เมตร

ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนไม่มีไหล่ถนน แต่สามารถใช้การได้ดี  การคมนาคมสะดวก  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

4. ทางหลวงชนบท   หมายเลข 3027 (สาย บ.โนนตาล บ.หนองเขื่องช้างใต้) ผ่านหมู่ที่ 19 , 13, 7 และ 20

 ยาว 2  กม.    กว้าง 8  เมตร   อยู่ในเขต  ส.ป.ก.

เป็นถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนใช้การได้ดี  การคมนาคมสะดวก  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

5. สาย บ.โนนแต้ - บ.ดอนหัน  ผ่านหมู่ที่ 16  และ 9 

ยาว  4  กม.  กว้าง  8  เมตร 

 

ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนเป็นหลุม  เป็นบ่อ  เป็นช่วงๆ  ระหว่าง  กม.ที่ 3  ประมาณ  850  เมตร  บริเวณ  ม.9  การเดินทางลำบากในฤดูฝน  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

6. บ.ท่าสองคอน ต.เกิ้ง   ผ่านหมู่ที่ 1  และ 18  

ยาว 5  กม.   กว้าง  8  เมตร  

ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนใช้การได้ดี

การคมนาคมสะดวก  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

 

ถนนลูกรัง

1. บ.อุปราช บ.โนนตาล   ยาว 3 กม.  กว้าง  6 เมตร

 

 

ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนเป็นหลุมเป็นบ่อเป็นบางช่วง  ประมาณ 500 เมตร  บริเวณ  บ.โนนตาล  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

2.  บ.หนองกุงเต่า บ.หนองหว้า  ยาว 7 กม.  กว้าง 6 เมตร อยู่ในเขต  ส.ป.ก.

ถนนเชื่อมระหว่างตำบลท่าสองคอนไปตำบลบ่อใหญ่  ซึ่งเป็นถนนเพื่อการเกษตร   สภาพถนนเป็นหลุม เป็นบ่อเป็นบางช่วง  ส่วนใหญ่ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

 

แหล่งน้ำ

          แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค/บริโภค  และเพื่อการเกษตรของตำบลท่าสองคอน  ประกอบด้วย  แหล่งน้ำธรรมชาติจำนวน 14 แห่ง และแหล่งน้ำสาธารณะจำนวน 17 แห่ง (การจัดเวทีชุมชนตำบลท่าสองคอน,  11 กุมภาพันธ์  2551) 

          แหล่งน้ำธรรมชาติตำบลท่าสองคอน  ประกอบด้วย  แม่น้ำจำนวน  1 สาย  ลำห้วยจำนวน 4 สาย  และหนองน้ำ  จำนวน 9 แห่ง  สภาพลำน้ำในตำบลโดยทั่วไปตื้นเขิน เนื่องจากมีวัชพืชปกคลุมและดินพังทลาย โดยมีรายละเอียด  

ชื่อลำน้ำ /

แหล่งน้ำ

ไหลผ่านหมู่บ้าน

อื่นๆ

สภาพแหล่งน้ำ

นอกเขต ส.ป.ก.

ในเขต ส.ป.ก.

แม่น้ำชี

ม. 14  18  12  17  และ  1

ม. 6  11  15   และ 19

-

ยาว  15  กม.  กว้าง  200 เมตร   ปัจจุบันใช้ในการเกษตรเป็นส่วนใหญ่  เช่น เลี้ยงปลาในกระชัง  และปลูกผักสวนครัว ในเขตส.ป.ก. สามารถกักเก็บน้ำได้ตลอดปี  แต่ไม่สามรถนำน้ำขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้

ห้วยถ้ำเต่า

-

 ม.2 ม. 22  และ  6

-

ยาว  12  กม. กว้าง 40 เมตร สภาพตื้นเขิน  ปริมาณน้ำไม่เพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดปี   ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนาและเลี้ยงสัตว์

ห้วยหมาตาย

-

ม. 11  23  5  และ 8

-

ยาว  18  กม. กว้าง 18 เมตร  สภาพลำห้วยมีน้ำตลอดปี  ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนา  ปลูกผักสวนครัว  ข้าวโพด  และเลี้ยงสัตว์

ห้วยปอปิด

ม.9  21 และ 10

-

-

ยาว  5  กม.  กว้าง 25 เมตร  สภาพห้วยมีน้ำตลอดปี  ใช้น้ำเพื่อการอุปโภคในครัวเรือน  ซึ่งใช้ทำประปา หมู่ที่ 10  และใช้เพื่อการทำนาปลูกถั่วฝักยาว  และเลี้ยงสัตว์ 

ห้วยค้อ

ม. 2

-

-

ยาว  1.5  กม. กว้าง 12 เมตร สภาพลำห้วยตื้นเขิน  ไม่สามารถกักเก็บน้ำได้  เนื่องจากไม่มีฝายน้ำล้น ปริมาณน้ำไม่เพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดปี  ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนาและเลี้ยงสัตว์

หนองเขื่อนช้าง

ม. 13  และ 7

-

-

8  ไร่   ลึก 3 เมตร สภาพหนองตื้นเขิน  มีน้ำตลอดปี  ใช้ประโยชน์เพื่อการทำระบบประปาผิวดินของ ม. 13  และเพื่อการปลูกผักสวนครัว

หนองกุดน้ำกิน

 

ม. 5

-

-

13 ไร่   ลึก 5 เมตร สภาพหนองใช้การได้ดี  มีน้ำตลอดปี  ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนา 

หนองม้า

ม. 6

-

-

6 ไร่   ลึก  2 เมตร สภาพโดยทั่วไปใช้การได้ดี แต่ปริมาณน้ำไม่เพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี  ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนา  ทำการขุดลอก 2555

หนองเขื่อนน้อย 

ม. 9

 

-

 

-

15 ไร่   ลึก 3 เมตร สภาพหนองน้ำใช้การได้ดี น้ำไม่ตลอดปี   ใช้ประโยชน์เพื่อการปลูกผักสวนครัว  และเลี้ยงสัตว์

ทำการขุดลอก 2556

หนองบัว

ม. 1

-

-

30  ไร่  ลึก  3 เมตร สภาพน้ำใส  ปริมาณน้ำเพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดปี  ปัจจุบันใช้ประโยชน์เพื่อการทำนาและ ปลูกผักสวนครัว

  

ชื่อลำน้ำ / แหล่งน้ำ

ไหลผ่านหมู่บ้าน

อื่นๆ

สภาพแหล่งน้ำ

นอกเขต ส.ป.ก.

ในเขต ส.ป.ก.

หนองขุมดิน

ม.3

 

 

 

-

 

 

-

100  ไร่   ลึก  2.5 เมตร  สภาพหนองน้ำใช้การได้ดี  มีน้ำตลอดปี  ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนา  โดยเฉพาะช่วงการหว่านกล้า  และต้องการทำเป็นสถานที่ท่องเที่ยวประจำตำบล

หนองบุ่ง

ม. 12

 

 

-

 

-

50 ไร่   ลึก  1.5 เมตร  สภาพหนองน้ำตื้นเขิน  ไม่สามารถกักเก็บน้ำได้  และปริมาณน้ำไม่เพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดปี ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการปลูกผักสวนครัว

หนองแดง

ม. 20

 

 

 

 

-

-

15  ไร่  ลึก  3 เมตร สภาพหนองน้ำใช้การได้ดี  สามารถเก็บน้ำได้ และปริมาณน้ำไม่เพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดปี  ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนา  ขุดลอกในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

หนองบก

ม.16

 

 

-

 

-

6  ไร่  ลึก  4  เมตร  สภาพหนองน้ำมีน้ำตลอดปี  ขุดลอกเมื่อปี 2548 สภาพน้ำใส ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการปลูกผักสวนครัว

 

 ทรัพยากรธรรมชาติ

          ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่องค์การบริการส่วนตำบลท่าสองคอน ได้แก่ ป่าไม้ เช่น บริเวณป่าสงวนแห่งชาติป่าโคกขามป้อม ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ  700  ไร่ นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ เช่น ดอนปู่ตา ป่าช้า เป็นต้น

 การสาธารณสุข

ลำดับ

ชื่อสถานพยาบาลของรัฐ และเอกชน

สถานที่ตั้ง

หมายเหตุ

1

2

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบล  อุปราช

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบล  โนนแต้

หมู่ที่ 3 บ้านอุปราช

หมู่ที่ 4 บ้านโนนแต้

 


ส่วนราชการอื่น

ลำดับ

ชื่อส่วนราชการอื่น

สถานที่ตั้ง

หมายเหตุ

1

สำนักงานพลังงาน

บ้านอุปราช  หมู่ที่ 3

 

2

สำนักงานวิจัยพืชไร่

บ้านอุปราช  หมู่ที่ 3

 

3

สำนักงานสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้าธกส.มหาสารคาม  (สกต.)

บ้านโนนแต้ หมู่ที่ 4

 

รวม

3

 

(4) จำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ

ช่วงอายุประชากร

จำนวนเพศชาย (คน)

จำนวนเพศหญิง (คน)

จำนวนรวม(คน)

น้อยกว่า 1 ปีเต็ม

5

9

14

1 ปี 2 ปี

48

58

106

3 ปีเต็ม 5 ปี

105

95

200

6 ปีเต็ม 11 ปี

290

281

571

12 ปีเต็ม 14 ปี

167

173

340

15 ปีเต็ม 17 ปี

194

194

388

18 ปีเต็ม  - 25 ปี

690

704

1394

26 ปีเต็ม 49 ปีเต็ม

2,284

2,327

4,611

50 ปีเต็ม 60 ปีเต็ม

872

1,044

1,916

มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป

744

1,028

1,772

รวม

5,399

5,913

11,312

* ที่มา ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน  ระดับตำบล ปี 2557

 (5) กลุ่มอาชีพ 

 

อาชีพ

จำนวนเพศชาย

(คน)

จำนวนเพศหญิง

(คน)

จำนวนรวม

(คน)

ไม่มีอาชีพ

61

77

138

กำลังศึกษา

955

1045

2,000

เกษตรกรรม-ทำนา

1,672

2,265

3,937

เกษตรกรรม-ทำไร่

24

34

58

เกษตรกรรม-ทำสวน

-

-

-

เกษตรกรรม-ประมง

-

-

-

เกษตรกรรม-ปศุสัตว์

2

1

3

รับราชการ

223

215

438

พนักงานรัฐวิสาหกิจ

24

16

40

พนักงานบริษัท

217

238

455

รับจ้างทั่วไป

2,034

1,784

3,818

ค้าขาย

96

154

250

ธุรกิจส่วนตัว

85

66

151

อื่นๆ หรือไม่ระบุ

6

18

24

รวมทั้งหมด

5,399

5,913

11,312

 (6) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนและกลุ่มอาชีพ

 

ลำดับ

ชื่อกลุ่มอาชีพ

หมู่ที่/ชื่อบ้าน

หมายเหตุ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

กลุ่มทอเสื่อกก

กลุ่มเกษตรออมทรัพย์ก้าวหน้า

กลุ่มปลูกผักปลอดภัยสารพิษ

กลุ่มเลี้ยงโคกระบือ

กลุ่มทอสื่อกก

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ

กลุ่มทอผ้าไหม

กลุ่มเลี้ยงโค กระบือ

กลุ่มเกษตรหมุนเวียน

กลุ่มเกษตร โค/กระบือ

กลุ่มทอสื่อกก

กลุ่มผู้เลี้ยงกระบือ

กลุ่มเกษตรโคกระบือ

กลุ่มโคกระบือ

หมู่ที่ 2 บ้านหนองกุงเต่า

หมู่ที่ 12 บ้านท่าสองคอน

หมู่ที่ 8 บ้านหินลาด

หมู่ที่ 14 บ้านโนนตาล

หมู่ที่19 บ้านโนนตาล

หมู่ที่ 17 บ้านท่าสองคอน

หมู่ที่ 17 บ้านท่าสองคอน

หมู่ที่ 3 บ้านอุปราช

หมู่ที่ 6 บ้านบ่อน้อย

หมู่ที่ 15 บ้านโนนสะอาด

หมู่ที่ 5 บ้านหนองงัวน้อย

หมู่ที่ 9 บ้านดอนหัน

หมู่ที่ 18 บ้านท่าสองคอน

หมู่ที่ 11 บ้านสว่าง

หมู่ที่ 21 บ้านดอนหัน

หมู่ที่ 10 บ้านดงเค็ง

 

 

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

กลุ่มเลี้ยงหมู

กลุ่มเย็บผ้า

กลุ่มเลี้ยงไก่พื้นบ้าน

กลุ่มเลี้ยงสุกร

กลุ่มทอผ้า

กลุ่มทอผ้า

กลุ่มเกษตรพอเพียง

กลุ่มเลี้ยงโคกระบือ

กลุ่มเลี้ยงไก่

กลุ่มเกษตรผู้ปลูกอ้อย มันสำปะหลัง

กลุ่มผู้เลี้ยงโคนื้อ

กลุ่มเลี้ยงโคขุน

หมู่ที่ 10 บ้านดงเค็ง

หมู่ที่ 10 บ้านดงเค็ง

หมู่ที่ 10 บ้านดงเค็ง

หมู่ที่ 16 บ้านโนนแต้

หมู่ที่ 20 บ้านหนองเขื่อนช้าง

หมู่ที่ 4 บ้านโนนแต้

หมู่ที่ 4 บ้านโนนแต้

หมู่ที่ 4 บ้านโนนแต้

หมู่ที่ 4 บ้านโนนแต้

หมู่ที่ 22 บ้านหนองกุงเต่า

หมู่ที่ 23 บ้านหินลาด

หมู่ที่ 13 บ้านหนองเขื่อนช้าง

 

 การศึกษา

 

ลำดับ

ชื่อโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

สังกัด

เปิดการเรียนการระดับ

หมายเหตุ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าสองคอน

โรงเรียนบ้านท่าสองคอน

โรงเรียนบ้านอุปราช

โรงเรียนบ้านบ่อน้อยหนองงัวสว่างวิทย์

โรงเรียนบ้านหนองกุงเต่า

โรงเรียนบ้านหินลาด

โรงเรียนบ้านหนองเขื่อนช้าง

โรงเรียนบ้านดงเค็ง-ดอนหัน

โรงเรียนมหาชัยพิทยาคาร

โรงเรียนพัฒนาศึกษา

อปท.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

สพฐ.

เอกชน

ปฐมวัย 3-5 ขวบ

อนุบาล- ม.3

อนุบาล ป.6

อนุบาล ป.6

อนุบาล ป.6

อนุบาล ม.6

อนุบาล ป.6

อนุบาล ป.6

ม.1 ม.3

อนุบาล ป.6

 

 

 การบริการขั้นพื้นฐาน

การคมนาคม

                   องค์การบริหารส่วนตำบลท่าสองคอน อยู่ห่างจากตัวอำเภอเมืองมหาสารคาม ประมาณ 9 กิโลเมตร  โดยมีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 208  (สายมหาสารคาม-โกสุมพิสัย)  ซึ่งเป็นถนนลาดยางและเป็นเส้นทางการคมนาคมสายหลัก  ภายในตำบลมีถนนสายหลวงชนบท  หมายเลข มค 1207 ,มค1107 ,มค 12032 และถนนคอนกรีต ถนนลูกรังภายในตำบลเป็นเส้นทางสายหลักในการติดต่อ 

ถนน

สภาพถนน

ถนนลาดยาง

1. ทางหลวงแผ่นดิน  หมายเลข 208  (สาย จ. มหาสารคาม -   จ. ขอนแก่น) ผ่านหมู่ที่ 17 , 12,  3,  14 , 19 , 15,  11  6  , , 2 และ  5  ยาว  12  กม.   กว้าง  8 เมตร 

เป็นถนนสายหลักของตำบล  ซึ่งเชื่อมระหว่างจังหวัดหาสารคามไปจังหวัดขอนแก่น  สภาพถนนใช้การได้ดีการเดินทางสะดวก  ส่วนใหญ่ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

2. ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 2018 (สาย บ. หนองกุงเต่า บ. ดงเค็ง) ผ่านหมู่ที่ 2,  22 , 8 , 20 , 9,  21 และ 10   ความยาว  14 กม.  กว้าง  8  เมตร   อยู่ในเขต  ส.ป.ก.

 

ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนเป็นหลุมเป็นบ่อเป็นบางช่วง  การคมนาคมสะดวก  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

 

  

ถนน

สภาพถนน

3. ทางเข้าหมู่บ้านเชื่อมทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 2018 (สาย บ. โนนสะอาดบ. หินลาด) ผ่านหมู่ที่ 23 และ 8   ความยาว  3 กม.  กว้าง  8  เมตร

ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนไม่มีไหล่ถนน แต่สามารถใชการได้ดี  การคมนาคมสะดวก  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

4. ทางหลวงชนบท   หมายเลข 3027 (สาย บ.โนนตาล บ.หนองเขื่องช้างใต้) ผ่านหมู่ที่ 19 , 13, 7 และ 20 ยาว 2  กม.    กว้าง 8  เมตร   อยู่ในเขต  ส.ป.ก.

เป็นถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนใช้การได้ดี  การคมนาคมสะดวก  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

5. สาย บ.โนนแต้ - บ.ดอนหัน  ผ่านหมู่ที่ 16  และ 9 ยาว  4  กม.  กว้าง  8  เมตร 

 

ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนเป็นหลุม  เป็นบ่อ  เป็นช่วงๆ  ระหว่าง  กม.ที่ 3  ประมาณ  850  เมตร  บริเวณ  ม.9  การเดินทางลำบากในฤดูฝน  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

6. บ.ท่าสองคอน ต.เกิ้ง   ผ่านหมู่ที่ 1  และ 18  ยาว 5  กม.   กว้าง  8  เมตร  

ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนใช้การได้ดี

การคมนาคมสะดวก  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

 

ถนนลูกรัง

1. บ.อุปราช บ.โนนตาล   ยาว 3 กม.  กว้าง  6 เมตร

 

 

ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน  สภาพถนนเป็นหลุมเป็นบ่อเป็นบางช่วง  ประมาณ 500 เมตร  บริเวณ  บ.โนนตาล  ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

2.  บ.หนองกุงเต่า บ.หนองหว้า  ยาว 7 กม.  กว้าง 6 เมตร อยู่ในเขต  ส.ป.ก.

ถนนเชื่อมระหว่างตำบลท่าสองคอนไปตำบลบ่อใหญ่  ซึ่งเป็นถนนเพื่อการเกษตร   สภาพถนนเป็นหลุม เป็นบ่อเป็นบางช่วง  ส่วนใหญ่ใช้เป็นเส้นทางขนส่งผลผลิตทางการเกษตร

 

แหล่งน้ำ

          แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค/บริโภค  และเพื่อการเกษตรของตำบลท่าสองคอน  ประกอบด้วย  แหล่งน้ำธรรมชาติจำนวน 14 แห่ง และแหล่งน้ำสาธารณะจำนวน 17 แห่ง (การจัดเวทีชุมชนตำบลท่าสองคอน,  11 กุมภาพันธ์  2551) 

          แหล่งน้ำธรรมชาติตำบลท่าสองคอน  ประกอบด้วย  แม่น้ำจำนวน  1 สาย  ลำห้วยจำนวน 4 สาย  และหนองน้ำ  จำนวน 9 แห่ง  สภาพลำน้ำในตำบลโดยทั่วไปตื้นเขิน เนื่องจากมีวัชพืชปกคลุมและดินพังทลาย โดยมีรายละเอียด  

ชื่อลำน้ำ /

แหล่งน้ำ

ไหลผ่านหมู่บ้าน

อื่นๆ

สภาพแหล่งน้ำ

นอกเขต ส.ป.ก.

ในเขต ส.ป.ก.

แม่น้ำชี

ม. 14  18  12  17  และ  1

ม. 6  11  15   และ 19

-

ยาว  15  กม.  กว้าง  200 เมตร   ปัจจุบันใช้ในการเกษตรเป็นส่วนใหญ่  เช่น เลี้ยงปลาในกระชัง  และปลูกผักสวนครัว ในเขตส.ป.ก. สามารถกักเก็บน้ำได้ตลอดปี  แต่ไม่สามรถนำน้ำขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้

ห้วยถ้ำเต่า

-

 ม.2 ม. 22  และ  6

-

ยาว  12  กม. กว้าง 40 เมตร สภาพตื้นเขิน  ปริมาณน้ำไม่เพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดปี   ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนาและเลี้ยงสัตว์

ห้วยหมาตาย

-

ม. 11  23  5  และ 8

-

ยาว  18  กม. กว้าง 18 เมตร  สภาพลำห้วยมีน้ำตลอดปี  ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนา ปลูกผักสวนครัว  ข้าวโพด  และเลี้ยงสัตว์

ห้วยปอปิด

ม.9  21 และ 10

-

-

ยาว  5  กม.  กว้าง 25 เมตร  สภาพห้วยมีน้ำตลอดปี  ใช้น้ำเพื่อการอุปโภคในครัวเรือน  ซึ่งใช้ทำประปา หมู่ที่ 10  และใช้เพื่อการทำนาปลูกถั่วฝักยาว  และเลี้ยงสัตว์ 

ห้วยค้อ

ม. 2

-

-

ยาว  1.5  กม. กว้าง 12 เมตร สภาพลำห้วยตื้นเขิน  ไม่สามารถกักเก็บน้ำได้  เนื่องจากไม่มีฝายน้ำล้น ปริมาณน้ำไม่เพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดปี  ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนาและเลี้ยงสัตว์

หนองเขื่อนช้าง

ม. 13  และ 7

-

-

8  ไร่  ลึก 3 เมตร สภาพหนองตื้นเขิน  มีน้ำตลอดปี  ใช้ประโยชน์เพื่อการทำระบบประปาผิวดินของ ม. 13  และเพื่อการปลูกผักสวนครัว

หนองกุดน้ำกิน

 

ม. 5

-

-

13 ไร่ ลึก 5 เมตร สภาพหนองใช้การได้ดี  มีน้ำตลอดปี  ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนา 

หนองม้า

ม. 6

-

-

6 ไร่ ลึก  2 เมตร สภาพโดยทั่วไปใช้การได้ดี แต่ปริมาณน้ำไม่เพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปีส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนา  ทำการขุดลอก 2555

หนองเขื่อนน้อย 

ม. 9

 

-

 

-

15 ไร่   ลึก 3 เมตร สภาพหนองน้ำใช้การได้ดี น้ำไม่ตลอดปี   ใช้ประโยชน์เพื่อการปลูกผักสวนครัว  และเลี้ยงสัตว์

ทำการขุดลอก 2556

หนองบัว

ม. 1

-

-

30  ไร่  ลึก  3 เมตร สภาพน้ำใส  ปริมาณน้ำเพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดปีปัจจุบันใช้ประโยชน์เพื่อการทำนาและ ปลูกผักสวนครัว

 

ชื่อลำน้ำ / แหล่งน้ำ

ไหลผ่านหมู่บ้าน

อื่นๆ

สภาพแหล่งน้ำ

นอกเขต ส.ป.ก.

ในเขต ส.ป.ก.

หนองขุมดิน

ม.3

 

 

 

-

 

 

-

100  ไร่   ลึก  2.5 เมตร  สภาพหนองน้ำใช้การได้ดี  มีน้ำตลอดปี  ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนา  โดยเฉพาะช่วงการหว่านกล้า  และต้องการทำเป็นสถานที่ท่องเที่ยวประจำตำบล

หนองบุ่ง

ม. 12

 

 

-

 

-

50 ไร่   ลึก  1.5 เมตร  สภาพหนองน้ำตื้นเขิน  ไม่สามารถกักเก็บน้ำได้  และปริมาณน้ำไม่เพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดปี ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการปลูกผักสวนครัว

หนองแดง

ม. 20

 

 

 

 

-

-

15  ไร่  ลึก  3 เมตร สภาพหนองน้ำใช้การได้ดี  สามารถเก็บน้ำได้ และปริมาณน้ำไม่เพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดปี ใช้ประโยชน์เพื่อการทำนา  ขุดลอกในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

หนองบก

ม.16

 

 

-

 

-

6  ไร่  ลึก  4  เมตร  สภาพหนองน้ำมีน้ำตลอดปี  ขุดลอกเมื่อปี 2548 สภาพน้ำใส ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการปลูกผักสวนครัว

 

 

ทรัพยากรธรรมชาติ

          ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่องค์การบริการส่วนตำบลท่าสองคอน ได้แก่ ป่าไม้ เช่น บริเวณป่าสงวนแห่งชาติป่าโคกขามป้อม ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ  700  ไร่ นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ เช่น ดอนปู่ตา ป่าช้า เป็นต้น

การสาธารณสุข

ลำดับ

ชื่อสถานพยาบาลของรัฐ และเอกชน

สถานที่ตั้ง

หมายเหตุ

1

2

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบล  อุปราช

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบล  โนนแต้

หมู่ที่ 3 บ้านอุปราช

หมู่ที่ 4 บ้านโนนแต้

 

 

ส่วนราชการอื่น

ลำดับ

ชื่อส่วนราชการอื่น

สถานที่ตั้ง

หมายเหตุ

1

สำนักงานพลังงาน

บ้านอุปราช  หมู่ที่ 3

 

2

สำนักงานวิจัยพืชไร่

บ้านอุปราช  หมู่ที่ 3

 

3

สำนักงานสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้าธกส.มหาสารคาม  (สกต.)

บ้านโนนแต้ หมู่ที่ 4

 

รวม

3

 

Submit to FacebookSubmit to Google PlusSubmit to TwitterShare with friendsPrint this page

นายสุรชิต แก้วหะนาม

นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าสองคอน

การบริหารงานการดำเนินงาน

แบบคำร้องขอรับบริการ

จำนวนผู้เข้าชม

1227665
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
464
1252
2453
1216141
24940
48981
1227665

Your IP: 54.85.255.74
2024-03-19 12:26